รศ.พญ.จิรนันท์ วีรกุล
รองคณบดีฝ่ายวิชาการ

หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต

1.1 นิสิตแพทย์

1.1.1 สนับสนุนให้นิสิตแพทย์ได้เรียนรู้ทั้งในและนอกชั้นเรียน เน้นการเรียนรู้ได้ตลอดเวลาตามความต้องการ

1.1.2 ส่งเสริมให้นิสิตแพทย์มีความรู้ตามหลักสูตรของคณะแพทยศาสตร์โดยสอดคล้องกับความต้องการของสังคม และแพทยสภา

1.1.3 สนับสนุนให้นิสิตสอบผ่านการประเมินของระดับคณะ (comprehensive examination) และระดับประเทศ (National license)

1.2 อาจารย์

1.2.1 ส่งเสริมให้อาจารย์มีความรู้ด้านแพทยศาสตรศึกษา

1.2.2 ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างคณะที่สอนร่วม (คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์)

1.3 เครือข่าย

1.3.1 สร้างความร่วมมือของเครือข่าย

1.3.2 สนับสนุนให้การจัดการเรียนการสอน การวัดประเมินผล ของเครือข่ายร่วมผลิตแพทย์ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน

1.4 สิ่งสนับสนุนการศึกษา

1.4.1 บุคลากรฝ่ายสนับสนุนมีความรู้ ความเชี่ยวชาญในงานของตนเอง

1.4.2 มีสถานที่เพียงพอสำหรับสนับสนุนการเรียนการสอนตามหลักสูตร

1.4.3 อุปกรณ์และเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อสนองความต้องการของอาจารย์ นิสิตแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์

1.5 การศึกษาหลังปริญญา

1.5.1 สนันสนุนการเรียนการสอนหลังปริญญาของภาควิชาประสานงานกับมหาวิทยาลัยเพื่อให้มีการรับรองการเปิดหลักสูตรของแต่ละภาควิชา

1.5.2 พัฒนาหลักสูตร 2 ดีกรี (Dual degree)

1.5.3 เปิดหลักสูตรปริญญาโท-เอก

1.5.4 การศึกษาต่อเนื่องสำหรับแพทย์

1.6 โสตทัศนูปกรณ์และเทคโนโลยีการศึกษา

1.6.1 สนันสนุนการใช้เทคโนโลยี หรือสื่อการสอนที่ทันสมัย เหมาะกับความต้องการของอาจารย์และนิสิตแพทย์ สอดคล้องกับหลักสูตร

1.6.2 พัฒนาศูนย์ความรู้ของคณะแพทย์

1.6.3 พัฒนาระบบสิ่งสนับสนุนทางการศึกษาเกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษา เช่น simulation center, skill lab

1.6.4 สื่อการเรียนการสอนทางไกล

1.7 การประกันคุณภาพการศึกษา

1.7.1 ประกันคุณภาพการศึกษาให้มีมาตรฐานระดับชาติ หรือนานาชาติ ทั้งหลักสูตรก่อนปริญญา หลังปริญญา บัณฑิตศึกษา ทุกหลักสูตร

1.7.2 ประกันคุณภาพการศึกษาในทุกเครือข่ายของคณะแพทยศาสตร์

1.8 บุคลากร (ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง)

1.8.1 สนับสนุนให้ทำงานอย่างมีความสุข (Happy work place) : สถานที่ทำงาน สวัสดิการ การประเมินที่เป็นธรรม

1.8.2 สนับสนุนให้บุคลากรมีความเชี่ยวชาญ มีความก้าวหน้าในการทำงาน

1. พัฒนาเทคโนโลยีด้านการศึกษาและทักษะที่จำเป็นสำหรับคนในศตวรรษที่ 21

2. การจัดการศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ตามเกณฑ์มาตรฐานสากล

3. หลักสูตรผ่านเกณฑ์การประเมิน คุณภาพระดับชาติ/นานาชาติ

4. การจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษาหลังปริญญาตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

5. เปิดหลักสูตรแพทย์ประจำบ้านตามเกณฑ์มาตรฐานสากล

6. พัฒนาหลักสูตร Dual Degree curriculum

7. พัฒนาหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา